บทบรรณาธิการหนังสือ 1917 ปฏิวัติรัสเซีย
การเมือง
ประชานิยม V ประชาธิปไตย
ชวนอ่านบทสัมภาษณ์เรื่อง “ประชานิยม” (populism) ที่ไปไกลกว่าความเข้าใจและข้อถกเถียงหลักเรื่อง “ประชานิยม” ในสังคมไทยลิบลับ ทั้งจากฝั่งเอาและไม่เอาประชาธิปไตย
“ประชาชน” เป็นฐานหลักของ “ประชาธิปไตย” และ “ประชานิยม” แต่ “ประชาชน” ใน “ประชาธิปไตย” และ “ประชานิยม” ต่างกันอย่างไร และความต่างนั้นนำไปสู่อะไร
“ประชานิยม” ช่วยให้ “ประชาธิปไตย” เข้มแข็งขึ้นในมุมไหน และบั่นทอนประชาธิปไตยอย่างไร
อะไรคือมิติทางจริยธรรมที่แฝงฝังอยู่ในอุดมการณ์ประชานิยม ผู้ปฏิเสธวาทกรรม “คนดี” จะก้าวออกความย้อนแย้งในเรื่องนี้ที่อยู่ข้างในอุดมการณ์ประชานิยม (“ประชาชนดี”) ได้หรือไม่ อย่างไร
และเมื่อนักประชานิยม ซึ่งปฏิเสธชนชั้นนำเดิม ก้าวขึ้นสู่อำนาจในระบบทางการ กลายเป็นชนชั้นนำเสียเอง จะเกิดอะไรขึ้น
คุยกับปลัดคลัง
มันไม่ใช่แค่เรื่องประเคนผลตอบแทนสูง เรื่องเร่ขายของถูกไงครับ มันเป็นเรื่องของความเชื่อมั่น ซึ่งโยงไปถึงระบบการเมืองและวัฒนธรรมเรื่องประชาธิปไตย นิติรัฐ การตรวจสอบ ความรับผิด ความยุติธรรม ความแน่นอนคงเส้นคงวา และความโปร่งใส
ฟาสซิสต์กับประชาธิปไตย
ระบอบฟาสซิสต์กับประชาธิปไตยสัมพันธ์กันอย่างไร
“ความหวัง” ที่ “เราทำได้”
ขณะที่เราหายใจ เรามีความหวัง
เมื่อเราพบเจอความมองโลกในแง่ร้าย ความลังเลสงสัย และผู้คนที่เฝ้าพร่ำบอกว่าเราไร้สามารถ เราจะตอบกลับไปด้วยหลักการเหนือกาลเวลาที่สรุปจิตวิญญาณแห่งประชาชนว่า
“ใช่ เราทำได้”
ถนนสู่ทำเนียบขาว: Cruz V Trump
การเมืองในโลกจริงแสบสันต์ไม่แพ้การเมืองในนิยาย
ไฮไลท์สำคัญของ Republican Convention วันที่สาม นอกจากจะเป็นการเปิดตัวผู้สมัครชิงตำแหน่งรองประธานาธิบดีของพรรครีพับลิกัน ไมค์ เพนซ์ ผู้ว่าการรัฐอินเดียน่า อย่างเป็นทางการแล้ว คือการขึ้นเวทีกล่าวสุนทรพจน์ในเวลาไพรม์ไทม์ของ เท็ด ครู๊ซ วุฒิสมาชิกจากรัฐเท็กซัส คู่แข่งคนสำคัญที่สุดของโดนัลด์ ทรัมป์ ในศึกชิงตำแหน่งตัวแทนพรรครีพับลิกันปีนี้
ถนนสู่ทำเนียบขาว: Republican Convention
โดยทั่วไป สื่อมวลชนไม่ได้เฝ้ารอ Convention ของพรรคการเมืองอย่างจดจ่อขนาดนี้ เพราะธรรมชาติของมันมีความน่าเบื่ออยู่ ทุกอย่างถูกเขียนสคริปต์ไว้หมดแล้วว่าใครจะเป็นตัวแทนพรรค ใครจะเป็นผู้กล่าวสุนทรพจน์ ทั้งหมดเป็นไปตามบทที่ถูกเขียนไว้ล่วงหน้า ทุกอย่างเดินไปบน ‘ทาง’ อย่างที่มันควรจะเป็น
แต่ปีนี้สื่อมวลชนให้ความสนใจ Republican Convention มากเป็นพิเศษ เหตุผลเดียวก็คือ ‘โดนัลด์ ทรัมป์’ ผู้ฉีกสคริปต์ทั้งปวงของพรรครีพับลิกันตลอดปีที่ผ่านมา
คอการเมืองจึงอดเฝ้าชมไม่ได้ ว่าจะมีอะไร “นอกบท” สนุกๆ มันๆ สะใจๆ เกิดขึ้นอีกบ้าง
สนทนา 30 ปี ทีดีอาร์ไอ “สังคมเศรษฐกิจไทย: ความท้าทายและการปฏิรูป” – อานันท์ ปันยารชุน
สนทนา 30 ปี ทีดีอาร์ไอ “สังคมเศรษฐกิจไทย: ความท้าทายและการปฏิรูป” กับ อานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี
ในงานสัมมนาวิชาการประจำปี 2557 “ประเทศไทยในสามทศวรรษหน้า: สี่ความท้าทายเพื่อการเติบโตอย่างมีคุณภาพ” จัดโดย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์
อ่าน คอร์รัปชั่น ประชาธิปไตย และสังคมไทยในยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง
คอร์รัปชั่นจึงเป็นปัญหาทางการเมืองเรื่องความไม่เท่าเทียมเชิงอำนาจ และความอยุติธรรมทางสังคม สาเหตุเชิงโครงสร้างของคอร์รัปชั่นมาจากโครงสร้างและระบอบการเมืองที่ผูกขาดอำนาจ ดังนั้น ในด้านหนึ่ง การร้องหาคนดีเพียงเท่านั้นไม่ช่วยแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น ต้องมองเชิงโครงสร้างและระบบโดยไปไกลกว่าเรื่องจริยธรรมส่วนบุคคล ในอีกด้านหนึ่ง คอร์รัปชั่นก็มิได้เป็นแค่ปัญหาเชิงเทคนิค มิได้มีแค่มิติทางเศรษฐศาสตร์เท่านั้น เราหวังพึ่งเทคโนแครตมาออกแบบระบบที่ดีแล้วหวังว่าปัญหาจะหมดสิ้นก็ไม่ได้เหมือนกัน แต่ต้องคำนึงถึงมิติทางการเมือง เช่น การต่อสู้เชิงวาทกรรม และความชอบธรรมเชิงอำนาจของการต่อสู้กับคอร์รัปชั่นด้วย
“เครือข่าย 2 เอา 2 ไม่เอา” รวมพลังกลุ่มต่างขั้ว หา “จุดร่วม” ทางออกประเทศไทย
เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ มีการแถลงเปิดตัวเครือข่าย “2 เอา 2 ไม่เอา” คัดค้านรัฐประหาร คัดค้านความรุนแรงทุกรูปแบบ เคารพการใช้สิทธิเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ ปฏิรูปบนวิถีทางประชาธิปไตย ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของภาคประชาสังคม นักวิชาการ ที่มีความคิดเห็น “ต่างขั้ว” และมี “จุดยืน” ทางการเมืองที่หลากหลาย แต่มี “จุดร่วม” ที่เหมือนกัน รวมพลังระดมความคิดร่วมกันหาทางออกให้สังคมไทย เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือก และอีกหนึ่งความหวัง
ไม่เอา “รัฐประหาร-ความรุนแรง” เอา “เลือกตั้ง-ปฏิรูปวิถีประชาธิปไตย”