Skip to content

โลกความคิดของ ปกป้อง จันวิทย์

โลกความคิดของปกป้อง จันวิทย์

  • หน้าแรก
  • บทความ
    • บทความเศรษฐกิจการเมือง
    • บทความรับเชิญ
    • บล็อก
  • งานวิชาการ
    • งานวิจัย
    • บทความวิชาการ
  • หนังสือ
    • หนังสือเล่ม
    • ผลงานร่วม
    • งานบรรณาธิการ
  • จับเข่าคุย
  • ขอคิดด้วยคน
    • บทสัมภาษณ์
    • บทอภิปราย
  • รู้จักปกป้อง
    • ประวัติส่วนตัว
    • แวดวงทำงาน

นโยบายเศรษฐกิจ

อย่าจบที่ ‘เงินคงคลัง’

Posted on February 8, 2017February 8, 2021 by pokpong

ชวนไปให้ไกลกว่าข้อถกเถียงเรื่องเงินคงคลัง

Posted in บทความ, บล็อก Tagged การคลัง, นโยบายเศรษฐกิจ, รัฐบาลถังแตก, เงินคงคลัง Leave a comment

Thammasat Economic Focus: นโยบายเศรษฐกิจภายใต้รัฐบาลใหม่

Posted on September 5, 2015September 9, 2015 by pokpong

งานแถลงข่าวเปิดตัวโครงการ Thammasat Economic Focus และการอภิปราย Thammasat Economic Focus ครั้งที่ 1 “นโยบายเศรษฐกิจไทยภายใต้รัฐบาลใหม่” จัดโดย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วันที่ 29 กันยายน 2557 เวลา 13.00 – 15.00 น. ณ ห้อง 101 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

วิทยากร: ศ.ดร.สกนธ์ วรัญญูวัฒนา ศ.ดร.พรายพล คุ้มทรัพย์ รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ผศ.ดร.อาชนัน เกาะไพบูลย์ ผศ.ดร.อภิชาต สถิตนิรามัย
ผู้ดำเนินรายการ: ผศ.ปกป้อง จันวิทย์

Posted in จับเข่าคุย Tagged policy watch, คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, นโยบายเศรษฐกิจ, รัฐบาล, เศรษฐกิจไทย, โครงการติดตามนโยบายเศรษฐกิจ Leave a comment

การเมืองเรื่องคนย้ายถิ่น

Posted on August 25, 2014October 3, 2014 by pokpong

หากวิเคราะห์จุดยืนพื้นฐานเกี่ยวกับการปฏิรูประบบการย้ายถิ่นของผู้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในการเลือกตั้งครั้งนี้ พบว่า นโยบายของแม็คแคนและโอบามา (รวมถึงคลินตัน) ไม่ต่างกันมาก ทุกคนต่างให้การสนับสนุนการปฏิรูประบบจัดการการย้ายถิ่นตามแนวทางของร่างกฎหมายปี 2006 ซึ่งก็คือการสนับสนุนนโยบายสร้างรั้วกั้นแนวพรมแดนทางใต้ สนับสนุนการสร้าง ‘ทาง’ ให้คนย้ายถิ่นที่ข้ามแดนมาอย่างผิดกฎหมายก้าวสู่การเป็นพลเมืองอเมริกันเต็มตัวได้ และการเปิดช่องให้แรงงานต่างชาติเข้ามาทำงานในระบบแรงงานรับเชิญ

Posted in บทความ, บทความเศรษฐกิจการเมือง Tagged การย้ายถิ่น, การเมืองอเมริกา, การเลือกตั้ง, การเลือกตั้งประธานาธิบดี, นโยบายเศรษฐกิจ, รีพับลิกัน, เดโมแครต, เศรษฐกิจอเมริกา Leave a comment

การเมืองเรื่องขุดน้ำมัน

Posted on August 25, 2014October 3, 2014 by pokpong

ด้วยราคาน้ำมันเพิ่มสูงขึ้นไม่หยุด จนแตะระดับ 135 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรลในช่วงกลางปี 2551 ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช จึงปลุกผีการขุดเจาะหาน้ำมันขึ้นมาอีกครั้ง โดยเสนอให้รัฐสภายกเลิกกฎหมายว่าด้วยการห้ามขุดเจาะน้ำมันในทะเล ปี 1981 และมีแนวคิดที่จะยกเลิกคำสั่งฝ่ายบริหาร (Executive Orders) ที่ห้ามขุดเจาะน้ำมันปี 1990 รวมถึงเสนอให้อนุญาตให้ขุดหาน้ำมันในเขตอนุรักษ์ธรรมชาติและคุ้มครองสัตว์ป่าได้ด้วย โดยอ้างว่าหากค้นพบแหล่งน้ำมันใหม่จะช่วยทำให้ราคาน้ำมันในสหรัฐอเมริกาลดลง เป็นการบรรเทาภาระของประชาชน

Posted in บทความ, บทความเศรษฐกิจการเมือง Tagged การเมืองอเมริกา, การเลือกตั้ง, การเลือกตั้งประธานาธิบดี, นโยบายเศรษฐกิจ, รีพับลิกัน, เดโมแครต, เศรษฐกิจอเมริกา Leave a comment

การเมืองเรื่องโลกร้อน

Posted on August 25, 2014October 3, 2014 by pokpong

จุดใหญ่ใจความของเรื่องนี้อยู่ตรงบทบาทและท่าทีของรัฐบาลในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมนี่เองว่า รัฐบาลควรจะเข้ามาจำกัดควบคุมการผลิตของภาคเอกชนเพียงใด หากปล่อยให้เอกชนตัดสินใจผลิตตามกลไกตลาดเพื่อกำไรสูงสุด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมย่อมมีมากขึ้นเกินระดับที่เหมาะสม เพราะการผลิตสินค้าก่อให้เกิดต้นทุนต่อสังคม (Social Cost) เช่น ปัญหามลพิษ ปัญหาโลกร้อน ซึ่งผู้ผลิตในตลาดไม่คำนึงต้นทุนดังกล่าว เพราะสนใจเฉพาะต้นทุนที่ตกกับตัวเอง (Private Cost) เท่านั้น หากต้องการลดต้นทุนต่อสังคมลง รัฐบาลก็ต้องเข้ามาแทรกแซงความล้มเหลวของตลาดในส่วนนี้ โดยการจำกัดปริมาณการปล่อยคาร์บอน เป็นต้น แม้อาจจะทำให้ต้นทุนของภาคอุตสาหกรรมสูงขึ้น แต่ก็ช่วยลดต้นทุนต่อสังคมจากการผลิตลง

Posted in บทความ, บทความเศรษฐกิจการเมือง Tagged การเมืองอเมริกา, การเลือกตั้ง, การเลือกตั้งประธานาธิบดี, นโยบายเศรษฐกิจ, ประชาธิปไตย, รีพับลิกัน, วัฒนธรรมการเมืองอเมริกา, เดโมแครต, เศรษฐกิจอเมริกา Leave a comment

การเมืองเรื่องเศรษฐกิจ

Posted on August 25, 2014October 3, 2014 by pokpong

อ่านการเมืองเรื่องเศรษฐกิจของประเทศอเมริกาแล้ว คงเห็นว่า ไม่ว่าประเทศใดในโลก นโยบาย ‘ลด-แลก-แจก-แถม’ ทางเศรษฐกิจยังขายได้เสมอ แต่ของเขา นโยบายฟากหนึ่ง รัฐใช้จ่าย ลดภาษีคนจน แต่เก็บภาษีคนรวยและบริษัทเพิ่มมากขึ้น นโยบายอีกฟากหนึ่ง ลดภาษีเอกชน ปล่อยให้เอกชนมีบทบาทนำทางเศรษฐกิจ แต่คุมการใช้จ่ายของรัฐ ส่วนประเทศไทย มีนโยบายฟากเดียว รัฐใช้จ่ายมากขึ้น แถมลดภาษีกันถ้วนทั่วทุกกลุ่มเสียอีก

แล้วมันจะไปรอดได้อย่างไร?

Posted in บทความ, บทความเศรษฐกิจการเมือง Tagged การเมืองอเมริกา, การเลือกตั้ง, การเลือกตั้งประธานาธิบดี, นโยบายเศรษฐกิจ, ประชาธิปไตย, รีพับลิกัน, วัฒนธรรมการเมืองอเมริกา, เดโมแครต, เศรษฐกิจอเมริกา Leave a comment

McCainomics VS Obamanomics

Posted on August 25, 2014October 3, 2014 by pokpong

บล็อกของโรเบิร์ต ไรช์ นำเสนอบทวิเคราะห์ว่าด้วยความแตกต่างระหว่างนโยบายเศรษฐกิจของ จอห์น แม็คเคน และบารัค โอบามา ไรช์ชี้ให้เห็นความคิดต่างของทั้งคู่ลึกลงไปถึงระดับ ‘ปรัชญา’ พื้นฐานของแนวนโยบายเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการทำความเข้าใจอุดมการณ์ทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันระหว่างพรรครีพับลิกันและพรรคเดโมแครต

หากจะสรุปให้อ่านในหนึ่งย่อหน้าก็คือ เศรษฐกิจแบบแม็คเคน (McCainomics) สะท้อนเศรษฐทัศน์แบบ ‘บนลงล่าง’ (Top-Down) อย่างชัดเจน ขณะที่เศรษฐกิจแบบโอบามา (Obamanomics) สะท้อนเศรษฐทัศน์แบบ ‘ล่างขึ้นบน’ (Bottom-Up) อย่างชัดเจน

Posted in บทความ, บทความเศรษฐกิจการเมือง Tagged การเมืองอเมริกา, การเลือกตั้งประธานาธิบดี, นโยบายเศรษฐกิจ, ประชาธิปไตย, รีพับลิกัน, วัฒนธรรมการเมืองอเมริกา, เดโมแครต, เศรษฐกิจอเมริกา Leave a comment
Proudly powered by WordPress | Theme: Reab Reab by MennStudio.

โลกความคิดของปกป้อง จันวิทย์

  • หน้าแรก
  • บทความ
    • บทความเศรษฐกิจการเมือง
    • บทความรับเชิญ
    • บล็อก
    • Back
  • งานวิชาการ
    • งานวิจัย
    • บทความวิชาการ
    • Back
  • หนังสือ
    • หนังสือเล่ม
    • ผลงานร่วม
    • งานบรรณาธิการ
    • Back
  • จับเข่าคุย
  • ขอคิดด้วยคน
    • บทสัมภาษณ์
    • บทอภิปราย
    • Back
  • รู้จักปกป้อง
    • ประวัติส่วนตัว
    • แวดวงทำงาน
    • Back