Skip to content

โลกความคิดของ ปกป้อง จันวิทย์

โลกความคิดของปกป้อง จันวิทย์

  • หน้าแรก
  • บทความ
    • บทความเศรษฐกิจการเมือง
    • บทความรับเชิญ
    • บล็อก
  • งานวิชาการ
    • งานวิจัย
    • บทความวิชาการ
  • หนังสือ
    • หนังสือเล่ม
    • ผลงานร่วม
    • งานบรรณาธิการ
  • จับเข่าคุย
  • ขอคิดด้วยคน
    • บทสัมภาษณ์
    • บทอภิปราย
  • รู้จักปกป้อง
    • ประวัติส่วนตัว
    • แวดวงทำงาน

วิกฤตเศรษฐกิจ

สยามวาระ: วิกฤตเศรษฐกิจโลก

Posted on September 26, 2014October 1, 2014 by pokpong

ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ที่ย่อโลกและหลอม­รวมระบบเศรษฐกิจและระบบการเงินทั้งโลกเป็น­หนึ่งเดียวกัน โลกกลับต้องเผชิญวิกฤตเศรษฐกิจที่ครั้งใหญ­่ที่สุดในรอบ 80 ปี วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ในอเมริกาและวิกฤตยูโรโ­ซนกำลังเขย่าให้โลกทั้งใบจนปั่นป่วน

อะไรคือรากเหง้าและต้นตอของวิกฤต วิกฤตครั้งนี้เหมือนหรือต่างจากครั้งก่อนๆ อย่างไร วิกฤตเศรษฐกิจครั้งนี้ส่งผลกระทบเศรษฐกิจแ­ละชีวิตคนไทยอย่างไร สังคมเศรษฐกิจไทยพร้อมรับมือกับโลกที่ผันผ­วนปรวนแปรมากแค่ไหน

Posted in จับเข่าคุย Tagged thai pbs, วิกฤตเศรษฐกิจ, วิกฤตเศรษฐกิจโลก, สยามวาระ, เศรษฐกิจมหภาค, เศรษฐศาสตร์ Leave a comment

15 ปี วิกฤตเศรษฐกิจ 2540: ประเทศไทยอยู่ตรงไหน

Posted on September 22, 2014November 8, 2014 by pokpong

ผู้สัมภาษณ์: บุญลาภ ภูสุวรรณ ปกป้อง จันวิทย์ และภาวิน ศิริประภานุกูล

ชวนอ่านปกหน้า:

อดีต ปัจจุบัน อนาคต เศรษฐกิจไทย ผ่านมุมมองของ 12 ตัวละครหลักในวิกฤตต้มยำกุ้ง

ทนง พิทยะ บัณฑูร ล่ำซำ ธารินทร์ นิมมานเหมินท์ ธาริษา วัฒนเกส บรรยง วิเศษมงคลชัย อมเรศ ศิลาอ่อน ศิริวัฒน์ วรเวทวุฒิคุณ อัมมาร สยามวาลา บรรยง พงษ์พานิช วิรไท สันติประภพ เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ธนา เธียรอัจฉริยะ

สำนักพิมพ์: สำนักข่าวไทยพับลิก้า

พิมพ์ครั้งแรก: มีนาคม 2556

Posted in ผลงานร่วม, หนังสือ Tagged thaipublica, ทนง พิทยะ, ธนา เธียรอัจฉริยะ, ธารินทร์ นิมมานเหมินท์, ธาริษา วัฒนเกส, บรรยง พงษ์พานิช, บรรยง วิเศษมงคลชัย, บัณฑูร ล่ำซำ, บุญลาภ ภูสุวรรณ, ปกป้อง จันวิทย์, ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ, ภาวิน ศิริประภานุกูล, วิกฤตเศรษฐกิจ, วิกฤตเศรษฐกิจ 2540, วิกฤตเศรษฐกิจไทย, วิรไท สันติประภพ, ศิริวัฒน์ วรเวทวุฒิคุณ, อมเรศ ศิลาอ่อน, อัมมาร สยามวาลา, เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ, เส้นทางการพัฒนาเศรษฐกิจ Leave a comment

เศรษฐกิจไทยในโลกที่เปลี่ยนแปลง กับเกษียร เตชะพีระ

Posted on September 8, 2014October 5, 2014 by pokpong

ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา และปกป้อง จันวิทย์ – สัมภาษณ์

เมื่อวิกฤตเศรษฐกิจโลกเกิดขึ้นอีกครั้ง เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยจะรับมืออย่างไร และเมื่อทุนนิยมโลกตกหล่มอีกหน นักวิชาการที่ไม่ใช่นักเศรษฐศาสตร์จะอธิบายที่มา และการปรับตัวอย่างไร

เกษียร เตชะพีระ จะมาให้ข้อคิดเห็นด้วยมุมมองทางรัฐศาสตร์-เศรษฐศาสตร์

และมันน่าสนใจอย่างยิ่ง เพราะเสียงเสียงนี้ ไม่ใช่เสียงของนักเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก–เสียงที่ผูกขาดการอธิบายสภาพเศรษฐกิจในสังคมไทยเสมอมา

“ทางออกที่หวังพึ่งตะวันตกให้เป็นแหล่งบริโภคของโลกมันพึ่งไม่ได้แล้ว ทิศทางที่จะไปต่อคือการหันมาเน้นตลาดในประเทศ การกระจายรายได้ให้เสมอภาคมากขึ้น และสร้างรัฐสวัสดิการรองรับคนในสังคม ซึ่งจะเป็นจริงได้ ต้องอาศัยพลังการเมือง แต่ประชาธิปไตยแบบที่เรามี ถูกออกแบบมาให้ไม่ต้องรับใช้ประชาชน มันถูกออกแบบมาให้เป็นเครื่องมือของชนชั้นนำตลอดมา” – เกษียร เตชะพีระ

Posted in จับเข่าคุย Tagged macrotrends, การเงินระหว่างประเทศ, การเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ, การเมือง, ซับไพรม์, ปกป้อง จันวิทย์, ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา, วิกฤตเศรษฐกิจ, วิกฤตเศรษฐกิจ 2540, วิกฤตเศรษฐกิจโลก, วิกฤตเศรษฐกิจไทย, เกษียร เตชะพีระ, เศรษฐกิจ, เศรษฐศาสตร์, เศรษฐศาสตร์ทางเลือก, เศรษฐศาสตร์นอกกระแสหลัก Leave a comment

เศรษฐกิจไทย เศรษฐกิจใคร

Posted on September 6, 2014October 1, 2014 by pokpong

ชวนอ่านปกหน้า:

เรากำลังใช้ชีวิตอยู่ในระบบเศรษฐกิจแบบไหน?

สำรวจเบื้องหลังสังคมเศรษฐกิจ ในยุคทุนนิยม-โลกาภิวัตน์-เสรีนิยมใหม่

ชวนอ่านปกหลัง:

การปฏิรูปเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ

“เรากำลังใช้ชีวิตอยู่ในเศรษฐกิจแบบไหน … โจทย์สำคัญของเศรษฐกิจไทยคือเราจะเดินหน้าไปสู่เศรษฐกิจที่เป็นธรรม มีประสิทธิภาพ และมีความหมายต่อชีวิตของผู้คน โดยเฉพาะสามัญชนคนธรรมดาได้อย่างไร” – ปกป้อง จันวิทย์

สำนักพิมพ์: อมรินทร์

พิมพ์ครั้งแรก (ครั้งเดียว): ตุลาคม 2554

Posted in หนังสือ, หนังสือเล่ม Tagged การศึกษาเศรษฐศาสตร์, การเมือง, บทความเศรษฐกิจการเมือง, ภูมิทัศน์เศรษฐกิจโลก, วิกฤตเศรษฐกิจ, สำนักพิมพ์อมรินทร์, เศรษฐกิจ, เศรษฐกิจทางเลือก, เศรษฐกิจไทย, เศรษฐศาสตร์, เศรษฐศาสตร์การเมือง, เศรษฐศาสตร์ทางเลือก, เศรษฐศาสตร์นอกกระแสหลัก, เส้นทางการพัฒนาเศรษฐกิจ Leave a comment

การฟื้นตัวแบบไม่จ้างงาน

Posted on August 31, 2014October 7, 2014 by pokpong

สรุปว่า กำไรที่เพิ่มมากขึ้นของบริษัทไม่ได้เป็นหลักประกันว่าจะนำไปสู่การจ้างงานมากขึ้นเสมอไป นับวันโลกของกำไรกับโลกของงานยิ่งแยกขาดจากกัน ความเชื่อที่ว่าช่วยให้ธุรกิจฟื้นตัวก่อนแล้วจะส่งผลต่อเนื่องให้เกิดการจ้างงานต่อไปดูจะเป็นความเชื่อที่ไม่สอดคล้องกับความเป็นไปของเศรษฐกิจปัจจุบันเสียแล้ว

และหากสถานการณ์ในตลาดแรงงานยังคงดำเนินไปอย่างเลวร้ายเช่นนี้อยู่ ก็มีโอกาสสูงว่า สัญญาณการฟื้นตัวของเศรษฐกิจอเมริกาตั้งแต่สิ้นปีที่แล้วเป็นเพียงภาพลวงตาระยะสั้น ก่อนที่จะวนกลับสู่ความตกต่ำซ้ำสองอีกรอบในไม่ช้า เพราะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวได้อย่างยั่งยืนต้องมีฐานล่างที่เข้มแข็ง คนต้องมีงานทำและได้รับผลตอบแทนอย่างเหมาะสมจึงมีอำนาจซื้อสินค้าและบริการในระดับที่นำพาเศรษฐกิจออกจากหล่มแห่งความตกต่ำได้ ซึ่งเงื่อนไขดังกล่าวยังไม่เกิดขึ้นในปัจจุบัน

Posted in บทความ, บทความเศรษฐกิจการเมือง Tagged jobless recovery, การจ้างงาน, การพัฒนา, นิตยสาร ค คน, วิกฤตเศรษฐกิจ, เศรษฐกิจมหภาค, เศรษฐกิจอเมริกา Leave a comment

ว่าด้วยทุนค้าปลีกไทย

Posted on August 26, 2014October 1, 2014 by pokpong

ผมได้มีโอกาสร่วมวิจารณ์บทความวิจัยเรื่อง “สองนคราค้าปลีกไทย: เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยพลวัตบรรษัทค้าปลีกข้ามชาติ” ของคุณวีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ซึ่งเป็นบทความหนึ่งที่ถูกนำเสนอในงานสัมมนาโครงการเมธีวิจัยอาวุโส สกว. เรื่อง “โครงสร้างและพลวัตทุนไทยหลังวิกฤตเศรษฐกิจ” ของ ศ.ดร.ผาสุก พงษ์ไพจิตร ณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จึงขออนุญาตเก็บความมาเล่าสู่กันฟังครับ

Posted in บทความ, บทความเศรษฐกิจการเมือง Tagged ทุนค้าปลีก, บทความเศรษฐกิจการเมือง, ประชาชาติธุรกิจ, พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว, พลวัตทุนไทย, วิกฤตเศรษฐกิจ, วิกฤตเศรษฐกิจ 2540 Leave a comment
Proudly powered by WordPress | Theme: Reab Reab by MennStudio.

โลกความคิดของปกป้อง จันวิทย์

  • หน้าแรก
  • บทความ
    • บทความเศรษฐกิจการเมือง
    • บทความรับเชิญ
    • บล็อก
    • Back
  • งานวิชาการ
    • งานวิจัย
    • บทความวิชาการ
    • Back
  • หนังสือ
    • หนังสือเล่ม
    • ผลงานร่วม
    • งานบรรณาธิการ
    • Back
  • จับเข่าคุย
  • ขอคิดด้วยคน
    • บทสัมภาษณ์
    • บทอภิปราย
    • Back
  • รู้จักปกป้อง
    • ประวัติส่วนตัว
    • แวดวงทำงาน
    • Back