Skip to content

โลกความคิดของ ปกป้อง จันวิทย์

โลกความคิดของปกป้อง จันวิทย์

  • หน้าแรก
  • บทความ
    • บทความเศรษฐกิจการเมือง
    • บทความรับเชิญ
    • บล็อก
  • งานวิชาการ
    • งานวิจัย
    • บทความวิชาการ
  • หนังสือ
    • หนังสือเล่ม
    • ผลงานร่วม
    • งานบรรณาธิการ
  • จับเข่าคุย
  • ขอคิดด้วยคน
    • บทสัมภาษณ์
    • บทอภิปราย
  • รู้จักปกป้อง
    • ประวัติส่วนตัว
    • แวดวงทำงาน

สฤณี อาชวานันทกุล

สังคมไทยในวังวนแห่งวิกฤตเปลี่ยนผ่าน

Posted on December 13, 2014March 9, 2015 by pokpong

ชื่อหนังสือ: In the vertigo of change: How to resolve Thailand’s transformation crisis (สังคมไทยในวังวนแห่งวิกฤตเปลี่ยนผ่าน

ผู้เขียน: Marc Saxer

ชวนอ่าน:

กว่า 10 ปี ภายใต้วังวนแห่งวิกฤตเปลี่ยนผ่าน ทางออกของประเทศไทยอยู่ตรงไหน? และสังคมไทยจะก้าวข้ามวิกฤตเปลี่ยนผ่านไปสู่ทางออกดังกล่าวได้อย่างไร? หาคำตอบได้จากบทความทั้ง 9 ชิ้น อันเฉียบคมและชวนถกเถียงต่อในหนังสือเล่มนี้

1. บทนำ: ความขัดแย้งระยะเปลี่ยนผ่านของประเทศไทย

2. ในวังวนแห่งการเปลี่ยนแปลง: เราจะคลี่คลายวิกฤตการเมืองได้อย่างไร?

3. ประเทศไทยจะก้าวข้ามวิกฤตการเปลี่ยนผ่านได้อย่างไร?: ยุทธศาสตร์เพื่อการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นประชาธิปไตย

4. เศรษฐกิจแห่งวันพรุ่งนี้: หนทางสร้างการเติบโตที่เป็นธรรมทางสังคม ยั่งยืน และเป็นพลวัตเขียว เพื่อสังคมที่ดี

5. โทสะชนชั้นกลางคุกคามประชาธิปไตย

6. วาทกรรมการเมืองเชิงศีลธรรม ในฐานะอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

7. การต่อสู้กับคอร์รัปชันในสังคมเปลี่ยนผ่าน

8. ความฝันของสยามยามคณะรัฐประหารครองเมือง

9. บทส่งท้าย: การสร้างสังคมที่ดีในประเทศไทย

ชวนอ่านปกหลัง

– วิกฤตเปลี่ยนผ่าน –

ความขัดแย้งระยะเปลี่ยนผ่านคือความทุกข์จากความสำเร็จของตน เมื่อระเบียบการเมืองไม่สามารถปรับตัวให้ทันต่อความเป็นจริงใหม่ทางสังคม ในการข้ามพ้นวิกฤตเปลี่ยนผ่าน ระเบียบทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนให้สอดรับกับความซับซ้อน ความหลากหลาย และความขัดแย้งอันถาวรของสังคมพหุนิยมสมัยใหม่

– ประชาธิปไตย –

‘ประชาธิปไตยแบบหนา’ คือเกมที่ดีที่สุดเท่าที่เรามีอยู่ ประชาธิปไตยที่ไม่มีการเลือกตั้งและการปกครองด้วยเสียงข้างมากย่อมไม่ใช่ประชาธิปไตย แต่ประชาธิปไตยก็ต้องคำนึงถึงการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของพลเมืองภายใต้หลักนิติธรรม และระบบตรวจสอบและถ่วงดุลเพื่อคัดคานการใช้อำนาจโดยมิชอบด้วย

– ความขัดแย้งเหลือง-แดง –

ทั้งสองฝ่ายต่างนำวิธีการที่ไม่เป็นประชาธิปไตย รวมถึงการใช้ความรุนแรงมาใช้ครั้งแล้วครั้งเล่าเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการเมืองของตน ทั้งวาทกรรม ‘แดง’ และ ‘เหลือง’ ต่างส่งเสริมประชาธิปไตยที่บกพร่องและไม่มีคุณสมบัติพอที่จะเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นประชาธิปไตย

– ชนชั้นกลาง –

ประชาธิปไตยไม่อาจอยู่รอดได้ หากปราศจากการสนับสนุนจากชนชั้นกลาง เราจำเป็นต้องดึงชนชั้นกลางที่เกรี้ยวกราดกลับเข้ามาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของพลังประชาธิปไตยอีกครั้งให้ได้

– คอร์รัปชัน –

คอร์รัปชันมิใช่ปัญหาศีลธรรมส่วนบุคคล แต่เป็นอาการของโรคเรื้อรังจากระบอบศักดินาราชูปถัมภ์ ในการต่อสู้กับคอร์รัปชัน เราจำเป็นจะต้องเป็นประชาธิปไตยให้มากขึ้น ไม่ใช่น้อยลง และต้องทำให้การต่อสู้กับคอร์รัปชั่นเป็นส่วนหนึ่งของการต่อสู้ที่ใหญ่กว่า นั่นคือการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยและสร้างความยุติธรรมทางสังคม

– เศรษฐกิจแห่งวันพรุ่งนี้ –

เศรษฐกิจไม่ใช่จุดหมายปลายทางในตัวมันเอง แต่เป็นเครื่องมือเพื่อรับใช้เป้าหมายแห่งการสร้าง ‘สังคมดีเพื่อชีวิตดีถ้วนหน้า’ ประเทศไทยต้องปรับเปลี่ยนเส้นทางการพัฒนาใหม่ สู่โมเดลการเติบโตที่เป็นธรรมทางสังคม ยั่งยืน และเป็นพลวัตเขียว เพื่อเสริมสร้างพลังความสามารถของทุกคนให้บรรลุศักยภาพสูงสุดตามเส้นทางที่ตนเลือกอย่างถ้วนหน้า

– พันธมิตรหลากสีเพื่อการเปลี่ยนแปลง –

เพื่อเอาชนะแนวร่วมฝ่ายธำรงรักษาสถานภาพเดิมที่ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง กลุ่มพลังก้าวหน้า เสรีนิยม และอนุรักษนิยมตาสว่าง ต้องรวมพลังกันเป็นพันธมิตรหลากสีเพื่อการเปลี่ยนแปลง พื้นที่กลาง ซึ่งทุกกลุ่มน่าจะยอมรับร่วมกันได้ คือการรวมพลังกันเพื่อ “สร้างสนามประชาธิปไตยในวันนี้สำหรับใช้แข่งขันกันอย่างเท่าเทียมต่อไปในวันหน้า”

– สัญญาประชาคมใหม่ –

ทางออกที่ทุกกลุ่มในสังคมเป็นผู้ชนะ มิอาจเกิดขึ้นผ่านการประนีประนอมเฉพาะในกลุ่มชนชั้นนำแบบปิดลับอีกต่อไป สังคมไทยต้องการสัญญาประชาคมใหม่ที่วางอยู่บนฐานของการประนีประนอมที่เปิดกว้างให้ทุกกลุ่มในสังคมมีส่วนร่วมอย่างถ้วนหน้า และเป็นสัญญาประชาคมที่สร้างระเบียบสมัยใหม่บนฐานของกฎหมายและเหตุผลสำหรับเป็นฐานที่มั่นแห่งการสร้าง ‘สังคมดีเพื่อชีวิตดีถ้วนหน้า’

สำนักพิมพ์: openworlds / มูลนิธิฟรีดริด แอเบร์ท

พิมพ์ครั้งแรก: ธันวาคม 2557

หน้า: 304 หน้า

ราคา: ไม่จำหน่าย

Posted in งานบรรณาธิการ, หนังสือ Tagged marc saxer, การสร้างประชาธิปไตย, การเมืองไทย, ฐณฐ จินดานนท์, ธร ปีติดล, ประชาธิปไตย, ภัควดี วีระภาสพงษ์, ภูมิ น้ำวล, ยุทธศาสตร์การเมือง, วิกฤตการณ์การเมือง, วิกฤตเปลี่ยนผ่าน, สฤณี อาชวานันทกุล, เศรษฐกิจแห่งวันพรุ่งนี้ Leave a comment

BRIDGE สะพานข้ามเวลาของ ‘รงค์ วงษ์สวรรค์ และเพื่อนหนุ่ม

Posted on September 22, 2014September 27, 2014 by pokpong

รายละเอียด: หนังสือที่ระลึกถึง ‘รงค์ วงษ์สวรรค์ และสวรรค์แห่งชีวิต

ผู้ให้สัมภาษณ์: พระไพศาล วิศาโล ประมวล เพ็งจันทร์ ไชยันต์ ไชยพร ธเนศ วงศ์ยานนาวา บินหลา สันกาลาคีรี อธิคม คุณาวุฒิ โตมร ศุขปรีชา ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา วรพจน์ พันธุ์พงศ์ ปราบดา หยุ่น บูรณิจฉ์ รัตนวิเชียร ทรงกลด บางยี่ขัน สฤณี อาชวานันทกุล นิ้วกลม ปกป้อง จันวิทย์

สำนักพิมพ์: openbooks

ตีพิมพ์: ตุลาคม 2552

Posted in ผลงานร่วม, หนังสือ Tagged ทรงกลด บางยี่ขัน, ธเนศ วงศ์ยานนาวา, นิ้วกลม, บินหลา สันกาลาคีรี, บูรณิจฉ์ รัตนวิเชียร, ปกป้อง จันวิทย์, ประมวล เพ็งจันทร์, ปราบดา หยุ่น, พระไพศาล วิศาโล, ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา, รงค์ วงษ์สวรรค์, รำลึก 'รงค์ วงษ์สวรรค์, วรพจน์ พันธุ์พงศ์, สฤณี อาชวานันทกุล, อธิคม คุณาวุฒิ, โตมร ศุขปรีชา, ไชยันต์ ไชยพร Leave a comment

“openworlds ตอบโจทย์” ความเชื่อและความฝันของคนทำหนังสือ

Posted on September 21, 2014October 6, 2014 by pokpong

สำนักพิมพ์ openworlds ก่อตั้งขึ้นในปี 2010 โดยมีภิญโญ ไตรสุริยธรรมา, สฤณี อาชวานันทกุล, แอลสิทธิ์ เวอร์การา, กรมัยพล สิริมงคลรุจิกุล, พลอยแสง เอกญาติ, วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และปกป้อง จันวิทย์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง

openworlds สนใจตีพิมพ์หนังสือแปลแนวเศรษฐกิจการเมือง ธุรกิจสมัยใหม่ ประวัติศาสตร์ และปัญญาความรู้หลากหลายสาขา

ตั้งแต่ก่อตั้งจนถึงปัจจุบัน openworlds มีหนังสือออกวางแผงแล้วหลายเล่ม หลังจากสำนักพิมพ์เริ่มลงหลักปักฐานในวงการหนังสือ และผลงานเริ่มเป็นที่รู้จักของผู้อ่านแล้ว ถ้าเปรียบเป็นคนก็คงเหมือนคนที่เริ่มคุ้นหน้ากัน แต่อาจไม่เคยคุยกัน สำนักพิมพ์จึงคิดว่านี่คือเวลาดีที่จะมาแนะนำตัวและทำความรู้จักกับผู้อ่านอย่างจริงจัง

Posted in ขอคิดด้วยคน, บทสัมภาษณ์ Tagged openworlds, กรมัยพล สิริมงคลรุจิกุล, ตอบโจทย์, ธุรกิจหนังสือ, ปกป้อง จันวิทย์, ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา, วงการหนังสือ, สยามวาระ, สฤณี อาชวานันทกุล Leave a comment

โครงการประเมินผลการดำเนินงานประจำปี 2552 (การประเมินภายนอก) องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย

Posted on September 6, 2014September 21, 2014 by pokpong

ผู้วิจัย: วิโรจน์ ณ ระนอง อัญชนา ณ ระนอง ปกป้อง จันวิทย์ สฤณี อาชวานันทกุล นันทิยา ตั้งวิสุทธิจิต วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง

แหล่งทุน: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (สสท.)

ตีพิมพ์: พฤษภาคม 2553

Posted in งานวิจัย, งานวิชาการ Tagged thai pbs, ธรรมาภิบาล, นันทิยา ตั้งวิสุทธิจิต, ปกป้อง จันวิทย์, ประเมินองค์กร, วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง, วิโรจน์ ณ ระนอง, สฤณี อาชวานันทกุล, สื่อสาธารณะ, สื่อสารมวลชน, องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย, อัญชนา ณ ระนอง Leave a comment

โครงการนโยบายเศรษฐกิจทางเลือกภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และอุดมการณ์เสรีนิยมใหม่: บทสำรวจองค์ความรู้และประสบการณ์

Posted on September 6, 2014September 21, 2014 by pokpong

ผู้วิจัย: ปกป้อง จันวิทย์ สฤณี อาชวานันทกุล เอื้อมพร พิชัยสนิธ

แหล่งทุน: อ๊อกแฟม ประเทศไทย

ตีพิมพ์: มกราคม 2551

Posted in งานวิจัย, งานวิชาการ Tagged นโยบายสาธารณะ, นโยบายเศรษฐกิจทางเลือก, ปกป้อง จันวิทย์, สฤณี อาชวานันทกุล, เศรษฐกิจทางเลือก, เสรีนิยมใหม่, เอื้อมพร พิชัยสนิธ, โลกาภิวัตน์ Leave a comment

Macrotrends ภูมิทัศน์เศรษฐกิจโลกใหม่และการปรับตัวของไทย

Posted on September 6, 2014October 1, 2014 by pokpong

ผู้เขียน: สฤณี อาชวานันทกุล เอื้อมพร พิชัยสนิธ ปกป้อง จันวิทย์ และภิญโญ ไตรสุริยธรรมา

ชวนอ่านปกหน้า: โฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ เกษียร เตชะพีระ สนทนากับ ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา

ชวนอ่านปกหลัง: 26 แนวโน้มใหญ่ เศรษฐกิจโลกใหม่ และเศรษฐกิจไทยในโลกที่เปลี่ยนแปลง

สำนักพิมพ์: สมาคมเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ และ openbooks

พิมพ์ครั้งแรก: พฤศจิกายน 2552

Posted in หนังสือ, หนังสือเล่ม Tagged macrotrends, openbooks, คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปกป้อง จันวิทย์, ปัญหาเศรษฐกิจ, ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา, ภูมิทัศน์เศรษฐกิจโลก, วิกฤตเศรษฐกิจโลก, สฤณี อาชวานันทกุล, เศรษฐกิจ, เศรษฐกิจไทย, เส้นทางการพัฒนาเศรษฐกิจ, เอื้อมพร พิชัยสนิธ Leave a comment

การอ่าน การเขียน และการเรียนรู้ชีวิตจากหนังสือ – สฤณี ปกป้อง และนิ้วกลม

Posted on August 28, 2014September 8, 2014 by pokpong

นิ้วกลม ชวน สฤณี อาชวานันทกุล และ ปกป้อง จันวิทย์ สนทนาเรื่องการอ่าน การเขียน และการเรียนรู้ชีวิตจากหนังสือ ในวาระรำลึกการจากไปของ ’รงค์ วงษ์สวรรค์ พ่วงเปิดตัวหนังสือวิชาสุดท้าย(ที่มหาวิทยาลัยไม่ได้สอน) เล่ม 2

Posted in ขอคิดด้วยคน, บทอภิปราย Tagged bridge, openbooks, การศึกษา, การอ่าน, การเขียน, นิ้วกลม, บทอภิปราย, ปกป้อง จันวิทย์, รงค์ วงษ์สวรรค์, วิชาสุดท้ายที่มหาวิทยาลัยไม่ได้สอน, สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์, สฤณี อาชวานันทกุล, หนังสือ Leave a comment
Proudly powered by WordPress | Theme: Reab Reab by MennStudio.

โลกความคิดของปกป้อง จันวิทย์

  • หน้าแรก
  • บทความ
    • บทความเศรษฐกิจการเมือง
    • บทความรับเชิญ
    • บล็อก
    • Back
  • งานวิชาการ
    • งานวิจัย
    • บทความวิชาการ
    • Back
  • หนังสือ
    • หนังสือเล่ม
    • ผลงานร่วม
    • งานบรรณาธิการ
    • Back
  • จับเข่าคุย
  • ขอคิดด้วยคน
    • บทสัมภาษณ์
    • บทอภิปราย
    • Back
  • รู้จักปกป้อง
    • ประวัติส่วนตัว
    • แวดวงทำงาน
    • Back