สนทนากับกองบรรณาธิการ BOT พระสยาม MAGAZINE เรื่องการจัดการความรู้และสื่อสารสาธารณะ โดยเฉพาะความท้าทายขององค์กรภาครัฐเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้
สื่อสารสาธารณะ
‘จัดการความรู้ 101’ ปฏิบัติการเชื่อมโลกวิชาการกับสังคม วิชาพื้นฐานที่มหาวิทยาลัยไม่ได้สอน
TK Park คุยกับ ปกป้อง จันวิทย์ เรื่องประสบการณ์การทำงานจัดการความรู้และสื่อสารสาธารณะ ผ่านบทบาทในคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) และ “วันโอวัน”
อำลาเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์
วันนี้เป็นวันทำงานวันสุดท้ายของผมในฐานะอาจารย์ประจำของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ครับ
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถือเป็นบ้านหลังที่สองของผม หากนับตั้งแต่แรกเข้าเป็นนักศึกษาปริญญาตรี ผมก็อาศัยอยู่ในบ้านหลังนี้มา 22 ปีเต็ม เรียกว่าเกินครึ่งหนึ่งของชีวิต
แน่นอนว่า นี่เป็นการตัดสินใจที่ยากลำบากที่สุดครั้งหนึ่งในชีวิต
นักวิจัย ‘ทีดีอาร์ไอ’ สวมบท ‘นักสื่อสาร’ ยุคดิจิทัล
ทีดีอาร์ไอเป็นสถาบันความรู้ ที่ต้องให้บริการวิชาการกับสังคม มีบทบาทหน้าที่สื่อสารความรู้ไปสู่สาธารณะ ผ่านช่องทางสื่อสารต่างๆ มีคนที่กระหายความรู้มหาศาลในสังคม เมื่อทีดีอาร์ไอมีคลังความรู้จำนวนมาที่สะสมมาเป็นเวลานาน ก็ควรทำหน้าที่สื่อสารกับสังคมมากขึ้น ผ่านเทคโนโลยีในโลกดิจิทัล
การสื่อสารเชิงนโยบายให้ถึงคนหมู่มาก นักวิจัยหรือนักเศรษฐศาสตร์ต้องสวมบทบาทนักสื่อสาร “ถือเป็นมิติใหม่ที่ท้าทาย” ในการให้ความรู้กับสังคม ซึ่งควรมีสิทธิในการรับรู้ข้อมูลเหล่านั้น
เพราะงานวิจัย ถือว่าเป็น “สินค้าสาธารณะ” หากผู้คนเข้าถึงงานวิจัยจำนวนมาก ย่อมเกิดประโยชน์ต่อผู้วิจัยและประเทศชาติ