Skip to content

โลกความคิดของ ปกป้อง จันวิทย์

โลกความคิดของปกป้อง จันวิทย์

  • หน้าแรก
  • บทความ
    • บทความเศรษฐกิจการเมือง
    • บทความรับเชิญ
    • บล็อก
  • งานวิชาการ
    • งานวิจัย
    • บทความวิชาการ
  • หนังสือ
    • หนังสือเล่ม
    • ผลงานร่วม
    • งานบรรณาธิการ
  • จับเข่าคุย
  • ขอคิดด้วยคน
    • บทสัมภาษณ์
    • บทอภิปราย
  • รู้จักปกป้อง
    • ประวัติส่วนตัว
    • แวดวงทำงาน

เส้นทางการพัฒนาเศรษฐกิจ

30 ปี ทีดีอาร์ไอ 30 ปี การพัฒนาเศรษฐกิจไทย

Posted on November 25, 2014 by pokpong

ผู้สัมภาษณ์: ปกป้อง จันวิทย์

ชวนอ่าน:

รวมบทสัมภาษณ์ว่าด้วยบทเรียนจากอดีตและความท้าทายแห่งอนาคตของการพัฒนาเศรษฐกิจไทย จากคณะผู้ก่อตั้งและผู้บริหารทีดีอาร์ไอหลายยุคสมัย

อ่านมุมมองของ อานันท์ ปันยารชุน เสนาะ อูนากูล อาณัติ อาภาภิรม ไพจิตร เอื้อทวีกุล อัมมาร สยามวาลา โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ วีรพงษ์ รามางกูร ณรงค์ชัย อัครเศรณี ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ นิพนธ์ พัวพงศกร และสมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์

สำนักพิมพ์: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

พิมพ์ครั้งแรก: พฤศจิกายน 2557

หน้า: 256 หน้า

Posted in ผลงานร่วม, หนังสือ Tagged การพัฒนาเศรษฐกิจ, ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์, ณรงค์ชัย อัครเศรณี, นักเศรษฐศาสตร์, นิพนธ์ พัวพงศกร, ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย, วีรพงษ์ รามางกูร, สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์, อัมมาร สยามวาลา, อาณัติ อาภาภิรม, อานันท์ ปันยารชุน, เทคโนแครต, เศรษฐกิจไทย, เศรษฐศาสตร์, เส้นทางการพัฒนาเศรษฐกิจ, เสนาะ อูนากูล, โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์, ไพจิตร เอื้อทวีกุล Leave a comment

15 ปี วิกฤตเศรษฐกิจ 2540: ประเทศไทยอยู่ตรงไหน

Posted on September 22, 2014November 8, 2014 by pokpong

ผู้สัมภาษณ์: บุญลาภ ภูสุวรรณ ปกป้อง จันวิทย์ และภาวิน ศิริประภานุกูล

ชวนอ่านปกหน้า:

อดีต ปัจจุบัน อนาคต เศรษฐกิจไทย ผ่านมุมมองของ 12 ตัวละครหลักในวิกฤตต้มยำกุ้ง

ทนง พิทยะ บัณฑูร ล่ำซำ ธารินทร์ นิมมานเหมินท์ ธาริษา วัฒนเกส บรรยง วิเศษมงคลชัย อมเรศ ศิลาอ่อน ศิริวัฒน์ วรเวทวุฒิคุณ อัมมาร สยามวาลา บรรยง พงษ์พานิช วิรไท สันติประภพ เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ธนา เธียรอัจฉริยะ

สำนักพิมพ์: สำนักข่าวไทยพับลิก้า

พิมพ์ครั้งแรก: มีนาคม 2556

Posted in ผลงานร่วม, หนังสือ Tagged thaipublica, ทนง พิทยะ, ธนา เธียรอัจฉริยะ, ธารินทร์ นิมมานเหมินท์, ธาริษา วัฒนเกส, บรรยง พงษ์พานิช, บรรยง วิเศษมงคลชัย, บัณฑูร ล่ำซำ, บุญลาภ ภูสุวรรณ, ปกป้อง จันวิทย์, ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ, ภาวิน ศิริประภานุกูล, วิกฤตเศรษฐกิจ, วิกฤตเศรษฐกิจ 2540, วิกฤตเศรษฐกิจไทย, วิรไท สันติประภพ, ศิริวัฒน์ วรเวทวุฒิคุณ, อมเรศ ศิลาอ่อน, อัมมาร สยามวาลา, เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ, เส้นทางการพัฒนาเศรษฐกิจ Leave a comment

15 ปี วิกฤตเศรษฐกิจ 2540 ประเทศไทยอยู่ตรงไหน – อัมมาร สยามวาลา

Posted on September 9, 2014October 5, 2014 by pokpong

ในวาระครบรอบ 15 ปี วิกฤตเศรษฐกิจ 2540 ปกป้อง จันวิทย์ ชวน อัมมาร สยามวาลา เขียนประวัติศาสตร์วิกฤตต้มยำกุ้ง และตอบคำถามว่า 15 ปี ผ่านไป สังคมเศรษฐกิจไทย ไล่เรียงตั้งแต่สถาบันการเงิน ภาคเศรษฐกิจจริง ธนาคารแห่งประเทศไทย ภาครัฐไทย นักการเมือง นักวิชาการเศรษฐศาสตร์ จนถึงประชาชนคนเดินถนนทั่วไป เรียนรู้อะไร และปรับตัวอย่างไรหลังจากวิกฤตเศรษฐกิจ

Posted in จับเข่าคุย Tagged thaipublica, การพัฒนาเศรษฐกิจ, ธนาคารแห่งประเทศไทย, นักเศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ, วิกฤตเศรษฐกิจ 2540, วิกฤตเศรษฐกิจไทย, สยามวาระ, สัมภาษณ์, อัมมาร สยามวาลา, เศรษฐศาสตร์, เส้นทางการพัฒนาเศรษฐกิจ Leave a comment

เศรษฐกิจไทย เศรษฐกิจใคร

Posted on September 6, 2014October 1, 2014 by pokpong

ชวนอ่านปกหน้า:

เรากำลังใช้ชีวิตอยู่ในระบบเศรษฐกิจแบบไหน?

สำรวจเบื้องหลังสังคมเศรษฐกิจ ในยุคทุนนิยม-โลกาภิวัตน์-เสรีนิยมใหม่

ชวนอ่านปกหลัง:

การปฏิรูปเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ

“เรากำลังใช้ชีวิตอยู่ในเศรษฐกิจแบบไหน … โจทย์สำคัญของเศรษฐกิจไทยคือเราจะเดินหน้าไปสู่เศรษฐกิจที่เป็นธรรม มีประสิทธิภาพ และมีความหมายต่อชีวิตของผู้คน โดยเฉพาะสามัญชนคนธรรมดาได้อย่างไร” – ปกป้อง จันวิทย์

สำนักพิมพ์: อมรินทร์

พิมพ์ครั้งแรก (ครั้งเดียว): ตุลาคม 2554

Posted in หนังสือ, หนังสือเล่ม Tagged การศึกษาเศรษฐศาสตร์, การเมือง, บทความเศรษฐกิจการเมือง, ภูมิทัศน์เศรษฐกิจโลก, วิกฤตเศรษฐกิจ, สำนักพิมพ์อมรินทร์, เศรษฐกิจ, เศรษฐกิจทางเลือก, เศรษฐกิจไทย, เศรษฐศาสตร์, เศรษฐศาสตร์การเมือง, เศรษฐศาสตร์ทางเลือก, เศรษฐศาสตร์นอกกระแสหลัก, เส้นทางการพัฒนาเศรษฐกิจ Leave a comment

เศรษฐกิจทางเลือก: ว่าด้วยมาตรการกำกับและจัดการทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ

Posted on September 6, 2014October 1, 2014 by pokpong

ชวนอ่านปกหน้า:

โลกาภิวัตน์ อุดมการณ์เสรีนิยมใหม่ วิวาทะว่าด้วยการเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ และ Capital Controls

ชวนอ่านปกหลัง:

หนังสือชุด ‘เศรษฐกิจทางเลือก’ เป็น ‘สิ่งยืนยัน’ ว่า ในซอกมุมเล็กๆ ของวงวิชาการเศรษฐศาสตร์ ยังมีนักเศรษฐศาสตร์ทางเลือกที่ทำงานในแนวทางที่แตกต่าง ในซอกมุมเล็กๆ ของเศรษฐกิจโลก ยังมีบางประเทศที่เลือกดำเนินนโยบายเศรษฐกิจในแนวทางที่แตกต่าง

‘ทางเลือกอื่น’ ในการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจและการพัฒนาเศรษฐกิจ ยังพอมีหลงเหลืออยู่ในโลกใบนี้ นโยบายเศรษฐกิจเหล่านั้นมิได้สร้างผลกระทบด้านลบแก่ระบบเศรษฐกิจ จนทำให้เศรษฐกิจล้มเหลวหรือพังทลายลง ดังที่นักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยมใหม่หวาดกลัว

ในทางตรงกันข้าม นโยบายเศรษฐกิจทางเลือกเหล่านั้นกลับมีส่วนช่วยสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้แก่ระบบเศรษฐกิจ และนำพาประเทศไปสู่การพัฒนาที่มีความอยู่ดีมีสุขของผู้คนในประเทศเป็นเป้าหมายสุดท้าย

สำนักพิมพ์: openbooks

พิมพ์ครั้งแรก (ครั้งเดียว): มีนาคม 2553

Posted in หนังสือ, หนังสือเล่ม Tagged capital controls, openbooks, การเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ, ชิลี, มาตรการกำกับและจัดการทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ, มาเลเซีย, เศรษฐกิจ, เศรษฐกิจทางเลือก, เศรษฐศาสตร์, เศรษฐศาสตร์ทางเลือก, เส้นทางการพัฒนาเศรษฐกิจ, เสรีนิยมใหม่, โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ Leave a comment

Macrotrends ภูมิทัศน์เศรษฐกิจโลกใหม่และการปรับตัวของไทย

Posted on September 6, 2014October 1, 2014 by pokpong

ผู้เขียน: สฤณี อาชวานันทกุล เอื้อมพร พิชัยสนิธ ปกป้อง จันวิทย์ และภิญโญ ไตรสุริยธรรมา

ชวนอ่านปกหน้า: โฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ เกษียร เตชะพีระ สนทนากับ ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา

ชวนอ่านปกหลัง: 26 แนวโน้มใหญ่ เศรษฐกิจโลกใหม่ และเศรษฐกิจไทยในโลกที่เปลี่ยนแปลง

สำนักพิมพ์: สมาคมเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ และ openbooks

พิมพ์ครั้งแรก: พฤศจิกายน 2552

Posted in หนังสือ, หนังสือเล่ม Tagged macrotrends, openbooks, คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปกป้อง จันวิทย์, ปัญหาเศรษฐกิจ, ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา, ภูมิทัศน์เศรษฐกิจโลก, วิกฤตเศรษฐกิจโลก, สฤณี อาชวานันทกุล, เศรษฐกิจ, เศรษฐกิจไทย, เส้นทางการพัฒนาเศรษฐกิจ, เอื้อมพร พิชัยสนิธ Leave a comment

ไปให้ไกลกว่า GDP

Posted on August 31, 2014October 7, 2014 by pokpong

เศรษฐกิจที่มุ่งพัฒนาโดยมีระดับ GDP สูงๆ และอัตราการเติบโตของ GDP สูงๆ เป็นเป้าหมายหลัก จึงเป็นเศรษฐกิจที่มองแคบ ให้คุณค่าเฉพาะความเจริญทางวัตถุระยะสั้น ละเลยความยั่งยืนและความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ ทั้งยังไร้พื้นที่สำหรับความงามด้านอื่นของชีวิต

เช่นนี้แล้ว นักวิชาการและนักเคลื่อนไหวทางสังคมจำนวนหนึ่งจึงพยายามคิดค้นแสวงหาตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจทางเลือกที่เหนือกว่า GDP ซึ่งมีลักษณะมองกว้าง มองไกล และเข้าถึงแก่นของชีวิตทางเศรษฐกิจของผู้คนและสังคมอย่างรอบด้านหลากมิติ ภารกิจดังกล่าวดำเนินอยู่อย่างต่อเนื่อง และยิ่งเข้มข้นขึ้นในช่วงที่เศรษฐกิจโลกเผชิญภาวะวิกฤตเศรษฐกิจพร้อมๆ กับวิกฤตสิ่งแวดล้อม

Posted in บทความ, บทความเศรษฐกิจการเมือง Tagged GDP, ความยั่งยืน, นิตยสาร ค คน, ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ, สิ่งแวดล้อม, เส้นทางการพัฒนาเศรษฐกิจ Leave a comment
Proudly powered by WordPress | Theme: Reab Reab by MennStudio.

โลกความคิดของปกป้อง จันวิทย์

  • หน้าแรก
  • บทความ
    • บทความเศรษฐกิจการเมือง
    • บทความรับเชิญ
    • บล็อก
    • Back
  • งานวิชาการ
    • งานวิจัย
    • บทความวิชาการ
    • Back
  • หนังสือ
    • หนังสือเล่ม
    • ผลงานร่วม
    • งานบรรณาธิการ
    • Back
  • จับเข่าคุย
  • ขอคิดด้วยคน
    • บทสัมภาษณ์
    • บทอภิปราย
    • Back
  • รู้จักปกป้อง
    • ประวัติส่วนตัว
    • แวดวงทำงาน
    • Back