สนทนากับ นิรัติศัย บุญจันทร์ The Paperless เรื่องวงการหนังสือไทย ประสบการณ์ทำหนังสือความรู้ช่วงสิบปีหลัง และก้าวต่อไปของสำนักพิมพ์ bookscape
ขอคิดด้วยคน
bookscape สำนักพิมพ์ที่เชื่อในความรู้ ศรัทธาในหนังสือ
สนทนากับ ศิวะภาค เจียรวนาลี บรรณาธิการ a day magazine เรื่องประสบการณ์ทำงานหนังสือความรู้ และสำนักพิมพ์ bookscape ร่วมกับ วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง
การสื่อสารสาธารณะกับความท้าทายของโลกยุคปัจจุบัน
สนทนากับกองบรรณาธิการ BOT พระสยาม MAGAZINE เรื่องการจัดการความรู้และสื่อสารสาธารณะ โดยเฉพาะความท้าทายขององค์กรภาครัฐเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้
สนทนากับ ‘สุทธิชัย หยุ่น’ เรื่อง 101
สนทนากับคุณสุทธิชัย หยุ่น เรื่อง The101.world ในรายการ Suthichai Live เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2561
The101.world : สื่อความรู้สร้างสรรค์ ชวนตั้งคำถามที่ใช่ เพื่อไปสู่คำตอบที่น่าสนใจ
สนทนากับ The MATTER เกี่ยวกับแนวคิดเบื้องหลังสื่อความรู้สร้างสรรค์ The101.world
‘จัดการความรู้ 101’ ปฏิบัติการเชื่อมโลกวิชาการกับสังคม วิชาพื้นฐานที่มหาวิทยาลัยไม่ได้สอน
TK Park คุยกับ ปกป้อง จันวิทย์ เรื่องประสบการณ์การทำงานจัดการความรู้และสื่อสารสาธารณะ ผ่านบทบาทในคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) และ “วันโอวัน”
ปาฐกถา 100 ปี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ครั้งที่ 1-10 โดย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เทปบันทึกภาพการแสดงปาฐกถา 100 ปี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ครั้งที่ 1-10 โดย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระหว่างเดือนเมษายน 2558 ถึงเดือนมกราคม 2559
งานอภิปรายทางวิชาการและเปิดตัวหนังสือ “ป๋วยกับสังคมไทยในวิกฤตเปลี่ยนผ่าน” ในงานรำลึก 100 ปีชาตกาล ป๋วย อึ๊งภากรณ์
งานอภิปรายทางวิชาการและเปิดตัวหนังสือ “ป๋วยกับสังคมไทยในวิกฤตเปลี่ยนผ่าน” ในงานรำลึก 100 ปีชาตกาล ป๋วย อึ๊งภากรณ์ วันพุธที่ 9 มีนาคม 2559 ณ หอประชุมศรีบูรพา มธ. ท่าพระจันทร์
ก่อนและหลังชีวิตอาจารย์มหาวิทยาลัย
“ทั้ง 3 วงการ (วงการการเมือง วงการสื่อ วงการวิชาการ) มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และมีแก่นอย่างเดียวกัน คือการแสวงหาความจริง จะเข้าใจความจริงได้ก็ต้องอาศัยความรู้ นักวิชาการมีหน้าที่ค้นหาความจริง สร้างทฤษฎีเพื่ออธิบายความจริงให้ได้ดีที่สุด ส่วนนักข่าวก็มีหน้าที่ค้นหาความจริงของสังคมเหมือนกัน งานข่าวสืบสวนสอบสวนก็คืองานวิจัยขนาดย่อมๆ นั่นเอง นักการเมืองจะกำหนดนโยบายได้ก็ต้องเข้าใจความจริงของสังคมและโลกก่อน จึงจะกำหนดนโยบายที่เป็นประโยชน์แก่สังคมและปฏิรูปสังคมได้ ซึ่งตัวเราก็สนใจสิ่งเหล่านี้ และสิ่งเหล่านี้ก็อยู่ในตัวเรามาโดยตลอด”
วิเคราะห์ ทางเลือก-ทางรอด สื่อหลัก
เมื่อโลกหมุนเข้าสู่ยุคดิจิทัล ข้อมูลข่าวสารจากที่เคยจารึกเป็นตัวอักษรลงบนกระดาษ กลายเป็นข้อความที่ปรากฏบนสมาร์ทโฟน ไปจนถึงบนจอคอมพิวเตอร์ การกดไลค์ กดแชร์ บนโลกโซเชียลมีเดียกลายเป็นปัจจัยที่คนขาดไม่ได้ จน “หนังสือพิมพ์” ที่เป็น “สื่อกระดาษ” ต้องกระโจนไปร่วมวง หรือบางคนก็วิเคราะห์ว่า ลมหายใจของ “สื่อหนังสือพิมพ์” ที่เป็น “สื่อกระแสหลัก” ใกล้ตายแล้ว
“ปกป้อง จันวิทย์” อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สะท้อนมุมมองของคนอ่านข่าวถึงทางรอดของสื่อกระแสหลักอย่างน่าสนใจ